วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

สรุปบทที่8

e-Procurement หมายถึง การทางานในแต่ละขั้นตอนของระบบ ข้อมูลจะถูกจัดส่งและจัดเก็บไปในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งข้อมูลเหล่านี้พร้อมที่จะถูกนาไปวิเคราะห์ต่อไป โดยข้อมูลครอบคลุมตั้งแต่การค้นหาและเลือกสินค้าจาก e-Catalog การออกใบขอสั่งซื้อ การรับและการอนุมัติใบขอสั่งซื้อ การออกใบสั่งซื้อ การติดตามการสั่งซื้อ การตรวจรับสินค้าและการชาระเงิน ข้อมูลในแต่ละขั้นตอนจะถูกถ่ายทอดไปอย่างต่อเนื่องจนจบกระบวนการ โดยไม่ต้องใช้เอกสารที่เป็น Manual เลย ทาให้มีความรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา และเกิดความโปร่งใส และที่สำคัญข้อมูลจะถูกถ่ายทอดไปยังส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องส่งผลให้เกิดการประสานงานอย่างสอดคล้องภายองค์กรและระหว่างองค์กรกับผู้ขายอีกด้วย

วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ e-Procurement ในประเทศไทย

  • ความมีประสิทธิภาพ (efficiency) จากการจัดซื้อสินค้าหรือบริการได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
  • ความพร้อมรับผิดชอบ (Accountability) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐควรต้องมี ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตน
  • ความโปร่งใส (Transparency) โดยกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างต้องเป็นกระบวนการที่เปิดเผยต่อสาธารณะ
  • ความคุ้มค่า (Value for Money) เพื่อลดปัญหาที่หน่วยงานรัฐมักซื้อสินค้าหรือบริการในราคาที่แพงกว่าของภาคเอกชน

ประโยชน์ของการพัฒนาระบบ e-Procurement

  • เอกสารการยื่นประกวดราคา คำชี้แจงและคำอธิบาย และข้อมูลการตัดสิน ผลการประกวดราคาของโครงการต่างๆ ที่ผ่านการคัดเลือกไปแล้วมีความชัดเจนและครบถ้วน
  • การกระจายข้อมูลไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องฝ่ายต่างๆ 
  • การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่มต่างๆ 

ขั้นตอนของระบบ e-Procurement


  • ค้นหาสินค้า/บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog
  • เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการจะซื้อผ่าน E-Shopping List
  • จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web Site
  • ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเทอร์เน็ต E-RFP
  • ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง E-RFQ และ Track Record ของผู้ขาย
  • ประมวลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ E-Auction
  • จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment
  • องค์ประกอบของระบบ e-Procurement
  •           ระบบ e-Catalog เป็นมาตรฐานระบบ Catalog ที่รวบรวมรายละเอียดของสินค้าและบริการ ซึ่งอำนวยความสะดวกให้ผู้ค้า/ผู้รับจ้าง มีคุณสมบัติในการทำธุรกรรมสามารถเข้ามาทำการแจ้งและปรับปรุงรายการสินค้า/บริการของตนเองได้
  •        ระบบ e-RFP (Request for Proposal) และ e-RFQ (Request for Quotation) เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีการสอบราคหรือวิธีการตกลงราคา
  •           ระบบ e-Auction แบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่
    • Reverse Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลซื้อให้ได้ราคาต่ำสุด
    • Forward Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลขาย ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้การจำหน่ายพัสดุที่หมดความจำเป็นของน่วยงานภาครัฐโดยวิธีขายทอดตลาด
    •      ระบบ e-Data Exchange เป็นระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ค้า เช่น การตรวจสอบควมเป็นนิติบุคคล การส่งข้อมูลในการตรวจสอบจำนวนเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงบประมาณ

      ข้อดีของ e-Procurement ในด้านของผู้ขาย

      • เพิ่มปริมาณการขาย
      • ขยายตลาดแบะได้รับลูกค้ากลุ่มใหม่
      • ดำเนินการบริหารการขาย และกิจกรรมทางการตลาดในต้นทุนต่ำ
      • เวลาของกระบวนการสั้นลง
      • พัฒนาให้พนักงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น
      • กระบวนการประมูลเป็นไปในทางทิศเดียวกัน
      ขั้นตอนของระบบ e-Procurement
      1. ค้นหาสินค้า/บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog
      2. เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการจะซื้อผ่าน E-Shopping List
      3. จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web-Site
      4. ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (E-RFP)
      5. ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง (E-RFQ) และ Track Record ของผู้ขาย
      6. ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction)
      7. ประกาศผล ผู้ชนะและส่งมอบ/ตรวจรับพัสดุ
      8. จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment

      องค์ประกอบของระบบ e-Procurement
      ระบบ e–Catalog
      ระบบ e-RFP (Request for Proposal) / e-RFQ (Request for Quotation)
      ระบบ e– Auction
      ระบบ e-Data Exchange
      Website ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้าง
      e-Market Place Service Provider

      ข้อดีของ e-procurement ในด้านของผู้ซื้อ
      กำหนดและสร้างพันธมิตรกับผู้ผลิตรายใหม่ได้ทั่วโลก
      ความสัมพันธ์กับพันธมิตรเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้มีอำนาจและต่อรองทางธุรกิจมากขึ้น
      ลดการกระจายสารสนเทศ
      สามารถส่งรูปภาพไปให้ผู้ผลิตหลาย ๆ แห่งในเวลาเดียวกัน
      ลดเวลาและค่าใช้จ่ายของกระบวนการ
      ได้รับการประมูลจากผู้ผลิตหลายรายเร็วขึ้น และทาให้การเจรจาต่อรองได้ผลดีกว่า

      ข้อดีของ e-procurement ในด้านของผู้ขาย
      เพิ่มปริมาณการขาย
      ขยายตลาด และได้รับลูกค้ากลุ่มใหม่
      ดำเนินการบริหารการขาย และกิจกรรมทางการตลาดในต้นทุนต่ำ
      เวลาของกระบวนการสั้นลง
      พัฒนาให้พนักงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น
      กระบวนการประมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 



ระบบ e– Auction

แบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่
ส่วนที่ 1 Reverse Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลซื้อให้ได้ในราคาต่ำสุด ซึ่ง

จะใช้วิธีนี้ในกรณีที่สินค้า/บริการที่ต้องการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ต้องใช้วิธีการประมูล ระบบนี้จะรับข้อมูลของผู้ค้าที่ได้รับการคัดเลือกจากระบบ e-RFP / e-RFQ มาดำเนินการประมูลผ่านทาง Internet แบบ Real-time ตามวันและเวลาที่กำหนด โดยการประมูลจะมี 2 แบบ คือ
English Reverse Auction เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะทราบสถานะของ การประมูลว่าผู้ที่เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาเท่าไร แต่ผู้เข้าประมูลจะไม่ทราบชื่อของผู้เข้าประมูลรายอื่น ๆ
Sealed Bid เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะไม่ทราบสถานะของการประมูลและ ราคาต่ำสุดของผู้ยื่นประมูล การยื่นข้อเสนอราคาแบบ Sealed Bidแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบยื่นข้อเสนอได้เพียงครั้งเดียว และยื่นข้อเสนอได้หลายครั้งภายในระยะเวลาที่กำหนด


ส่วนที่ 2 Forward Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลขาย ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้กับการจำหน่ายพัสดุที่หมดความจำเป็นของหน่วยงาน ภาครัฐโดยวิธีขายทอดตลาด ซึ่งเป็นการประมูลขายแบบผู้ชนะ คือ ผู้ที่เสนอราคาสูงสุด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น